“มาเหนือMAKE” Creative Lanna Artisan Store ยกระดับภูมิปัญญาล้านนาและพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการรายย่อยในภาคเหนือให้สามารถต่อยอดผลงานสู่ตลาดโลกบนพื้นที่ ICONCRAFT ชั้น 4-5 ไอคอนสยาม
นอกจากหาดทรายขาวละเอียด น้ำทะเลใส และแหล่งท่องเที่ยวที่ติดท็อประดับโลกแล้ว “กระบี่” ยังมีมุมท่องเที่ยวสายกรีนที่ใส่รายละเอียดเรื่องความยั่งยืน ความใส่ใจเรื่องสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการสนับสนุนชุมชนท้องถิ่นแบบจัดเต็ม เช่นเดียวกับพิกัด Krabi Green Vibe ที่สร้างบรรยากาศความกรีนด้วยพิกัดเวิร์คช็อป คาเฟ่ ร้านอาหารที่เบลนด์เรื่องความยั่งยืนเข้าไปอยู่ในไลฟ์สไตล์ได้กลมกลืนมาก
กระบี่ จังหวัดนี้ไม่ได้มีแค่พิกัดท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหารที่ใส่ใจเรื่องสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนเท่านั้น แม้แต่ในเรื่องของฝาก ของที่ระลึก จังหวัดกระบี่ก็มีทางเลือกแบบ Green Product ที่เชื่อมสู่เรื่องความยั่งยืนทั้งในแง่สิ่งแวดล้อม การจัดการขยะ ไปจนถึงการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่ความยั่งยืน
Lost in DOMLAND เป็นนิทรรศการศิลปะเดี่ยวครั้งใหญ่สุดของ โน้ส อุดม แต้พานิช เจ้าพ่อสแตนด์อัพคอมเมดี้ หรือ เดี่ยวไมโครโฟน ที่รวบรวมผลงานศิลปะกว่า 1,000 ชิ้นที่เขาสร้างสรรค์ตลอดระยะเวลากว่า 30 ปี เหมือนเป็นการบันทึกประสบการณ์ชีวิตในช่วงเวลาต่างๆ
ปราสาทหินสุรินทร์ มีไม่ต่ำกว่า 39 แห่ง โดยช่วงอาณาจักรขอมรุ่งเรืองมีการสร้างปราสาทขอมจำนวนมากขึ้นในพื้นที่สุรินทร์ ซึ่งอยู่ในเส้นทางราชมรรคาในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เชื่อมระหว่างเมืองพิมายและนครวัดอัน
วีรวิชญ์ ฟูตระกูล นักสะสม อินฟลูเอนเซอร์ และเจ้าของร้านขายของเก่า “สนามหลวง” ที่ชวนคนรุ่นใหม่ออกเดินทางไปค้นหาจิ๊กซอว์ประวัติศาสตร์ไทยในยุครัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ 4 ถึง รัชกาลที่ 7
แจกพิกัดเที่ยวรอบสนามหลวง ตามรอย KAWS: HOLIDAY THAILAND ประติมากรรม COMPANION ไซส์ยักษ์ความสูง 18 เมตร ตั้งอยู่กลางสถานที่ประวัติศาสตร์สนามหลวง พร้อมฉากหลังเป็นพระบรมมหาราชวังและวัดพระแก้ว
ศรีนิติ สุวรรณศักดิ์ นักเขียนจากผลงานรวมเรื่องสั้น “สสารไม่วันสูญหาย” ครั้งนี้เขากลับมาพร้อมกับหนังสือเล่มใหม่ รวมเรื่องสั้น “เคลื่อน” กับ 8 เรื่องสั้นที่ว่าด้วยการ “เคลื่อน” ของหลายสิ่งในชีวิตที่ดูเหมือนทั่วไป ธรรมดา แต่นำมาซึ่งการเปลี่ยนแปล
สำหรับสายวัฒนธรรมที่หลงใหลในเสน่ห์ล้านนา อินเตอร์คอนติเนนตัล เชียงใหม่ แม่ปิง (Intercontinental Chiang Mai The Mae Ping) เป็นอีกหนึ่งจุดหมายที่เปลี่ยนโรงแรมให้เป็น Living Museum รื้อฟื้นและสืบสานงานช่างสิบหมู่แบบล้านนาโบราณ พร้อมกันนั้นก็ยังได้นำลายเส้นล้านนาเข้ามาซ่อนไว้ในองค์ประกอบ ออกแบบโดยทีมดีไซน์เนอร์ไทย PIA Interior