Tag: Get lost in a book
มนุษย์ร้านสะดวกซื้อ หนังสือที่ชวนตั้งคำถามถึงความปกติและความเปลี่ยนแปลง

มนุษย์ร้านสะดวกซื้อ นวนิยายญี่ปุ่นโดย  มุราตะ ซากายะ หนังสือที่ชวนตั้งคำถามถึงความปกติและการเปลี่ยนแปลงในการดำเนินชีวิตผ่านเรื่องราวที่มีตัวละครหลักอย่าง ฟุรุคุระ เคโกะ หญิงสาววัย 36 ปีซึ่งยังไม่แต่งงานและทำงานพิเศษที่ร้านสะดวกซื้อมาตลอดเป็นเวลา 18 ปี

คนดีตายหมดแล้ว : ศีลธรรมที่หักมุมได้สไตล์ สรจักร

คนดีตายหมดแล้ว หนังสือรวมเรื่องสั้นของ สรจักร นักเขียนที่มีสไตล์โดดเด่นในการสร้างสรรค์เรื่องราวระทึกขวัญแบบหักมุมจบ จนกลายเป็นลายเซ็นที่สร้างชื่อในเอกลักษณ์ของการหลอกล่อให้ผู้อ่านดิ่งไปกับการเล่าเรื่องที่ชวนติดตามเพื่อที่จะพบว่าในท้ายที่สุดทุกสิ่งที่เชื่อถือมาล้วนเป็นความลวงที่พร้อมจะพลิกความเชื่อนั้นให้กลายเป็นอีกสิ่ง

ประกาศผลด่วน! 10 นวนิยายเข้ารอบสุดท้าย Shortlist ซีไรต์ 2564

ประกาศอย่างเป็นทางการแล้วสำหรับ 10 เล่ม Shortlist ซีไรต์ 2564 หนังสือนวนิยายที่ผ่านเข้ารอบคัดเลือกรอบสุดท้าย รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (S.E.A Write)

ป้ายยาหนังสือน่าอ่าน ในงาน Hybrid Book Fair 2564

งานหนังสือประจำปี Hybrid Book Fair 2564 เริ่มต้นขึ้นแล้ว เชื่อว่าหลาย ๆ คนคงมีลิสต์รายการเรียงยาวเป็นหางว่าว แต่สำหรับใครที่ยังไม่มี เรามีหนังสือแวะมาป้ายยา ทั้งเล่มใหม่ล่าและเล่มไม่ล่าแต่น่ามีไว้ในครอบครอง

ฮัสกี้หน้าโง่ฯ เรื่องราวของสุนัขโง่งมที่ก้าวสู่จอมราชัน ซึ่งคนทั้งโลกต้องสยบยอม

ฮัสกี้หน้าโง่กับอาจารย์เหมียวขาวของเขา นิยายวายจีนความยาว 10 เล่มจบ เขียนโดย โร่วเปาปู้ชือโร่ว แปลไทยโดย BouPtrn เนื้อหาสอดแทรกประเด็นเชิงโครงสร้างทางสังคม การเมือง และสะท้อนความดำมืดของมนุษย์ออกมาได้อย่างแยบยล

กีรติรัก : แด่ความรักของหญิงสาวที่สังคม (ไทย) ไม่ให้เอื้อนเอ่ย

กีรติรัก นวนิยายแฟนฟิกชันมีทั้งเนื้อหาของเลสเบียน และไบเซ็กชวล สะท้อนปัญหามิติเรื่องเพศในไทยโดยเฉพาะเลสเบียนและไบเซ็กชวลในช่วง พ.ศ.2500 ได้อย่างแนบเนียน ซึ่งปัญหานี้ยังคงอยู่มาถึงปัจจุบันและอาจจะดำเนินต่อไปในสังคมไทย

ปรากฏการณ์ ซีไรต์ 2564 “นิยายวาย-นักเขียนหญิง” วิกฤติโควิด-19 สะเทือนเวทีประกวด

วิกฤติโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อทุกวงการไม่เว้นแม้แต่วงการวรรณกรรมไทย โดยเฉพาะ ซีไรต์ หรือ รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน เวทีที่ สกุล บุณยทัต นายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย และคณะกรรมการตัดสินรางวัลซีไรต์พ.ศ.2564 กล่าวย้ำว่าเป็นเวทีที่มีความหมายต่อวงการนักเขียน และนักอ่านในสังคมไทยอย่างมาก

มอง ความแตกต่างหลากหลายทางเพศ สีผิว เชื้อชาติ ความคิด ที่ถูกซ่อนไว้ใน นิทาน

ชวนมอง ความแตกต่างหลากหลายทางเพศ สีผิว เชื้อชาติ และความคิด ที่ถูกซุกซ่อนไว้ใน นิทาน ซึ่งแม้ไม่มีคำพูด หรือบทสนทนา แต่เด็กๆ ก็สามารถเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมบนความแตกต่างได้

Holding the Man เพราะความรักเป็นเรื่องปกติ แม้จะอยู่ ในอ้อมกอดเขาหรือเพศใด

Holding the Man เป็นหนังสือต้นฉบับของ ทิโมธี คอนิเกรฟ (Timothy Conigrave) นักเขียนและนักเคลื่อนไหวสิทธิประเด็นทางเพศชาวออสเตรเลีย หนังสือเล่มนี้มีอิทธิพลทางความคิดและยังได้รับรางวัล Human Rights Award for Non-Fiction ในปี 1995 จาก Australian Human Rights