Tag: ปรัชญา
เศษเสี้ยวแห่งสัจจะ : บทกวีจิ๊กซอว์แห่งอภิปรัชญาของ เฮราไคลตัส

เศษเสี้ยวแห่งสัจจะ (Fragments) หนังสือรวบรวมเสี้ยวข้อความที่หลงเหลืออยู่จากนิพนธ์ของ เฮราไคลคัส (Heraclitus) ปรัชญาเมธียุคก่อน โสกราตีส ที่มีชีวิตอยู่ระหว่าง 536-475 ปีก่อนคริตสกาล โดยงานเขียนของ เฮราไคลตัส โดดเด่นด้วยข้อเสนอเชิงอภิปรัชญาที่มุ่งเน้นสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง

ศิลปะแห่งการผัดวันประกันพรุ่ง : ปรัชญาแห่งการจัดการเวลาฉบับคนขี้เกียจ โดย จอห์น เพอร์รี

ศิลปะแห่งการผัดวันประกันพรุ่ง (The Art of Procrastination) โดย จอห์น เพอร์รี (John Perry) นักเขียน นักปรัชญา และศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด ผู้ศึกษาทฤษฎีการผัดวันประกันพรุ่งแบบมีโครงสร้างจนทำให้เขาคว้ารางวัลอิกโนเบล สาขาวรรณกรรม ประจำ ค.ศ. 2011 และกลายมาเป็นหนังสือฮาวทูแบบฉบับคนขี้เกียจเล่มนี้

รัก ล้ำ โลก ว่าด้วยสมมติฐานความรักใน หนังไซไฟ ที่มากกว่าเทคโนโลยีล้ำยุค

ในขนบภาพยนตร์เรื่องแต่งวิทยาศาสตร์ หรือ ไซไฟมักจะมีการสร้างจินตนาการถึงโลกที่เต็มไปด้วยสมมติฐานเปรียบได้กับการหามุมมองใหม่ๆของการทดลอง เสน่ห์ของภาพยนตร์ขนบนี้จึงไม่เพียงการเห็นอุปกรณ์ล้ำยุค การแต่งกายประหลาด แต่ภาพยนตร์ไซไฟยังเต็มไปด้วยข้อเสนอทางความคิดใหม่ ๆ และความรักก็เป็นหนึ่งในนั้น ความรักในหนังไซไฟเป็นอย่างไร เราชวนมาหาคำตอบ

ศาสนาอำนาจนิยม และ การโบกสะบัดธงสีรุ้ง ของ แรปเตอร์–สิรภพ เสรีเทยพลัส

คุยกับ แรปเตอร์-สิรภพ อัตโตหิ ตัวแทน กลุ่มเสรีเทยพลัส กับแนวคิดปรัชญาศาสนาที่ทำให้สามารถเข้าใจเรื่อง ความหลากหลายทางเพศ มากยิ่งขึ้น

พระเจ้าตายแล้ว และศีลธรรมอันไร้ขอบเขตของมนุษย์ฉบับ “ฟรีดริช นีตซ์เช”

ฟรีดริช นีตซ์เช นักปรัชญาชาวเยอรมัน ในศตวรรษที่ 19 ผู้เป็นแรงขับเคลื่อนทางปัญญา และส่งอิทธิพลทางความคิดให้แก่นักคิด นักปรัชญารุ่นหลังมากมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งในความคิดแบบอัตถิภาวนิยม

ฌอง ฌากส์ รุสโซ : ตัวบทต้นธารคนสำคัญแห่งประชาธิปไตย

ฌอง ฌากส์ รุสโซ เป็นทั้งนักปรัชญา นักเขียน ผู้ผลิตความคิดอันเป็นอิทธิพลทางปัญญาสำคัญในการปฏิวัติครั้งใหญ่ของฝรั่งเศส ค.ศ.1789 รวมทั้งเป็นต้นธารแห่งประชาธิปไตย เขาคนนี้คือผู้อยู่เบื้องหลังคำว่า “สัญญาประชาคม”

จากราตรีลี้ลับ สู่ทิวาอันเร้นลับยิ่งกว่าในนามของ รพินทรนาถ ฐากุร

รพินทรนาถ ฐากุร เป็นที่รู้จักในฐานะศิลปิน นักเขียนชาวอินเดีย และชาวเอเชียคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบล สาขาวรรณกรรม เขาผู้นี้ไม่ได้น่าสนใจเพราะเขียนบทกวีตั้งแต่ 8 ขวบ แต่เขาคือนักคิดที่หมั่นศึกษาค้นคว้าตั้งคำถามกับหลากหลายประเด็นที่ค่อนข้างท้าทายนักคิดในยุคสมัยนั้น ครบถ้วนทั้งเชิงสังคม ชาตินิยม ศาสนา วิทยาศาสตร์ ปรัชญา การพัฒนาสังคม

วันเกิดของมาร์กซ์ และ วันตายของจิตร ประวัติศาสตร์ความเหลื่อมล้ำที่ยังไม่เคยคลี่คลาย

วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2361 เป็นวันเกิดของ คาร์ล มาร์กซ์ นักปรัชญาผู้วิพากษ์ทุนนิยมผู้มีอิทธิพลทางความคิดเป็นแรงบันดาลใจให้กับนักเคลื่อนไหวสังคมนิยมทั่วโลก และวันเดียวกัน เดือนเดียวกันนี้ในปี พ.ศ.2509 เป็นวันมรณกรรมของ จิตร ภูมิศักดิ์ นักเขียนผู้หาญกล้าวิพากษ์ความเหลื่อมล้ำ