Tag: LGTBQ+
Bangkok Naruemit Pride 2022 ไพรด์พาเหรดเต็มรูปแบบครั้งแรกในกรุงเทพฯ

Bangkok Naruemit Pride 2022 หรือ "นฤมิตไพรด์" งานไพรด์พาเหรดอย่างเต็มรูปแบบครั้งแรกในกรุงเทพฯ จัดโดยทีมบางกอกไพรด์และเครือข่ายนักกิจกรรม ร่วมด้วยภาคเอกชนที่มารวมตัวส่งเสียงดังๆ ให้รู้ว่าโลกนี้ยังมีความแตกต่างหลากหลายที่ไม่ได้จำกัดแค่เรื่องเพศ

ฮัสกี้หน้าโง่ฯ เรื่องราวของสุนัขโง่งมที่ก้าวสู่จอมราชัน ซึ่งคนทั้งโลกต้องสยบยอม

ฮัสกี้หน้าโง่กับอาจารย์เหมียวขาวของเขา นิยายวายจีนความยาว 10 เล่มจบ เขียนโดย โร่วเปาปู้ชือโร่ว แปลไทยโดย BouPtrn เนื้อหาสอดแทรกประเด็นเชิงโครงสร้างทางสังคม การเมือง และสะท้อนความดำมืดของมนุษย์ออกมาได้อย่างแยบยล

กีรติรัก : แด่ความรักของหญิงสาวที่สังคม (ไทย) ไม่ให้เอื้อนเอ่ย

กีรติรัก นวนิยายแฟนฟิกชันมีทั้งเนื้อหาของเลสเบียน และไบเซ็กชวล สะท้อนปัญหามิติเรื่องเพศในไทยโดยเฉพาะเลสเบียนและไบเซ็กชวลในช่วง พ.ศ.2500 ได้อย่างแนบเนียน ซึ่งปัญหานี้ยังคงอยู่มาถึงปัจจุบันและอาจจะดำเนินต่อไปในสังคมไทย

ย้อนความทรงจำ ปรมาจารย์ลัทธิมาร กับคำถาม “ใครดี ใครชั่ว ใครดำ ใครขาว”

ปรมาจารย์ลัทธิมารหรือ The Untamed ซีรีส์ที่ดัดแปลงมาจากนวนิยายกำลังภายในแนว Boy-love ของนักเขียน โม่เซียงถงซิ่ว ซึ่งนอกจากจะเปิดมุมมองของซีรีส์แนว Boy-love แนวกำลังภายในแล้ว เนื้อหาของเรื่องก็เข้มข้นในประเด็น ใครดี ใครชั่ว ใครดำ ใครขาว

มอง ความแตกต่างหลากหลายทางเพศ สีผิว เชื้อชาติ ความคิด ที่ถูกซ่อนไว้ใน นิทาน

ชวนมอง ความแตกต่างหลากหลายทางเพศ สีผิว เชื้อชาติ และความคิด ที่ถูกซุกซ่อนไว้ใน นิทาน ซึ่งแม้ไม่มีคำพูด หรือบทสนทนา แต่เด็กๆ ก็สามารถเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมบนความแตกต่างได้

จุฬาฯ เปิด คลินิกสุขภาพเพศ ตอบทุกโจทย์สุขภาพ สำหรับคนข้ามเพศโดยเฉพาะ

เปิด คลินิกสุขภาพเพศ โดยโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมองว่าการให้คำปรึกษาด้านสุขภาพเฉพาะทางควรเกิดขึ้นเพื่อคนข้ามเพศโดยเฉพาะ

Belonging มองความหลากหลายทางเพศในไทยผ่านเลนส์ สตีฟ แมคเคอร์รี

Belonging : Portraits from LGBTQ Thailand หนังสือคอลเลคชันภาพถ่ายเล่มล่าสุดของ สตีฟ แมคเคอร์รี (Steve McCurry) ช่างภาพระดับโลกกับผลงานภาพถ่ายร่วมสมัยเจ้าของผลงานภาพถ่ายสาวน้อยชาวอัฟกานิสถานดวงตาสีเขียวชื่อภาพ Afghan Girl ที่โด่งดังไปทั่วโลก

ไขความหมายที่ซ่อนในสีรุ้งของ Rainbow LGBT Pride Flag

25 มิถุนายน ค.ศ.1978 ธงสีรุ้ง หรือ Rainbow LGBT Pride Flag  ถูกนำมาใช้ครั้งแรกในการแสดงออกเรียกร้องเสรีภาพ สิทธิเท่าเทียม และการเฉลิมฉลองของชุมชนความหลากหลายเพศ