Arts & Culture
เทวดานพเคราะห์ ผู้เป็นเจ้าเรือนชะตามนุษย์ในตำราโบราณ

ในช่วงวันสงกรานต์ตามธรรมเนียมโบราณมักจะมีการไหว้ “เทวดานพเคราะห์” หมายถึง เทวดา 9 องค์ซึ่งเชื่อว่าเป็นผู้ครองเรือนชะตาของมนุษย์ โดยความเชื่อนี้มีต้นกำเนิดมาจากโหราศาสตร์ฮินดู

เมื่อเทคโนโลยีและโลกเสมือนจริงถูกนำมาชุบชีวิต วัดภุมรินทร์ราชปักษี

ถือเป็นกิจกรรมสั้นๆ แต่น่าสนใจอย่างมากสำหรับกิจกรรมสั้นๆ ตลอด 4 วัน ที่ทีมอาจารย์และนักศึกษาจาก สถาปัตยกรรมไทย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้เข้ามาชุบชีวิตทำให้ชื่อของ วัดภุมรินทร์ราชปักษี วัดร้างฝั่งธนบุรีที่มีอายุอานามกว่า 250 ปี ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่

ถอดรหัสจิตรกรรม วัดภุมรินทร์ราชปักษี วัดร้างฝั่งธนฯ ที่โดดเด่นด้วยงานสกุลช่างวังหน้า

ถอดรหัสจิตรกรรม วัดภุมรินทร์ราชปักษี วัดร้างฝั่งธนบุรีที่ถูกสร้างมาก่อนตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ โดดเด่นด้วยงานสกุลช่างวังหน้าและภาพมหาสุทัสสนสูตรขนาดใหญ่

Coexistence นิทรรศการที่ชวนเปิดมุมมองความเป็นมนุษย์ ที่มากกว่าสิ่งห่อหุ้ม

Coexistence นิทรรศการเดี่ยวครั้งแรก โดย เจมส์-พิสุทธิ์ ศรีสุวรรณ กับการจัดแสดง 16 ผลงานภาพถ่ายที่ชวนผู้ชมเปิดมุมมองถึงความเป็นมนุษย์ที่ปราศจากสิ่งห่อหุ้ม รวมถึงความต้องการขั้นพื้นฐานทางธรรมชาติทั้งเรื่องเพศ เซ็กซ์ และรูปร่าง

ส่องลายคราม สืบหาจีนกรุงศรีฯ : หน้าประวัติศาสตร์กรุงเก่าในลายครามที่มิอาจพลิกข้าม

ส่องลายคราม สืบหาจีนกรุงศรีฯ ผลงานเขียนและรวบรวมข้อมูลเครื่องลายครามเมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา โดย พิมพ์ประไพ พิศาลบุตร ผู้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมและสังคมจีนในไทย และนักสะสมเครื่องลายคราม

กลุ่มลูกหว้า : กับปฏิบัติการเปลี่ยนกุฏิหลังเก่า ให้เป็นโรงเรียนช่างสกุลเมืองเพชร

จากการสำรวจของกลุ่มลูกว่าพบว่าเสาของศาลาการเปรียญวัดใหญ่สุวรรณารามที่มีลวดลายไทยโบราณนั้นมีอยู่ด้วยกัน 16 ต้น (8 คู่) และมีเสาที่ลวดลายไม่ซ้ำกันอยู่ถึง 12 ต้น ด้วยความคิดที่ต้องการอนุรักษ์ศิลปะท้องถิ่น จึงเริ่มลอกลายจากเสาจริงและนำมาจัดแสดงไว้ที่หอศิลป์สุวรรณารามเพื่อจำลองให้เห็นความงดงามของลายฉบับเต็ม

ย้อนฟัง หมอลำโบราณ ทำไมอีสานยังคงแว่วหวานด้วยเสียง หมอลำ

ย้อนประวัติศาสตร์ หมอลำ กับ หมอลำพื้น ซึ่งเป็นหมอลำโบราณหาฟังยาก ทว่าเป็นพื้นฐานของหมอลำยุคใหม่ที่สร้างเศรษฐกิจพันล้านในภาคอีสาน

สงขลาในพิกัด เส้นทางสายไหมทางทะเล ย้อนความรุ่งเรืองที่มาก่อนกาลของสุวรรณภูมิ

ตลอดเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 เมืองเก่าสงขลาได้กลายเป็นพื้นที่ทางโบราณคดีที่สำคัญ ย้อนเล่าความรุ่งเรืองของ เส้นทางสายไหมทางทะเล ที่นำพาซีกโลกตะวันตกมาบรรจบพบฝั่งตะวันออก ณ ดินแดนที่เรียกว่า สุวรรณภูมิ ในนิทรรศการ “ศิลป์สุวรรณภูมิ บนเส้นทางสายไหมทางทะเล”

การค้นพบภาพเขียนต้นแบบของ กาลิเลโอ คินี และโจทย์ที่ท้าทายของนักอนุรักษ์

การค้นพบภาพเขียนสีฝุ่นบนผ้าใบของ กาลิเลโอ คินี (Galileo Chini) ศิลปินชาวอิตาลีผู้เขียนภาพบนเพดานโดมพระที่นั่งอนันตสมาคมไม่เพียงเป็นการค้นพบงานศิลปะทรงคุณค่าของศิลปินชื่อดัง แต่ยังเป็นการเปิดประวัติศาสตร์หน้าใหม่และเป็นงานที่ท้าทายของนักอนุรักษ์ในการบูรณะภาพเขียนขนาดใหญ่เกือบ 10 เมตร อายุกว่า 100 ปี