Faces
เช เกวารา นักปฏิวัติผู้ไม่มีวันตาย (และเขาไม่ได้อยู่แค่ท้ายรถสิบล้อ)

เช เกวารา (CheGuevara) เป็นภาพจำที่เหนียวแน่นของนักปฏิวัติปลดแอก ปัจจุบันภาพของเขาอยู่ในกระแส Pop Culture ไม่ว่าจะเสื้อยืด เข็มกลัด สตรีทอาร์ต บังโคลนรถบรรทุก เชเดินทางไปในพื้นที่อเมริกาใต้พร้อมคณะปฏิวัติของฟิเดล คาสโตรและสร้างแรงกระเพื่อมครั้งยิ่งใหญ่จากการร่วมปฏิวัติคิวบา

รินศรัทธา กาญจนวดี : กวีผู้ใช้หัวใจแทนดวงตาอันมืดมิด

รินศรัทธา กาญจนวดี กวีผู้สูญเสียดวงตา เจ้าของผลงาน ทุกขณะกระจ่างชัดสัมผัสใจ หนึ่งในหนังสือบทกวีที่เข้ารอบ Shortlist 8 เล่มสุดท้ายรางวัลซีไรต์ประจำปี 2562

ป๋องแป๋ง-อาจวรงค์ จันทมาศ และวิทยาศาสตร์ฉบับอินฟลูเอนเซอร์

วิทยาศาสตร์ คำนี้เป็นเหมือนยาขมของใครหลายคน แต่นั่นไม่ใช่กับ ป๋องแป๋ง-อาจวรงค์ จันทมาศ นักสื่อสารวิทยาศาสตร์ และอินฟลูเอนเซอร์สายวิทยาศาสตร์คนยุคบุกเบิกที่ใส่ความรู้วิทย์แน่น ๆ แบบที่คนทั่วไปเข้าใจได้ง่ายลงในเพจ วิทยาศาสตร์สำหรับป๋องแป๋งคือวิชาพื้นฐานการเข้าใจชีวิตที่มนุษย์ทุกคนควรมีพื้นฐานติดตัว

ไฟน์อาร์ตไม่ใช่คำตอบ แต่แฟชั่นคือทางที่ใช่สำหรับ โชน ปุยเปีย

โชน ปุยเปีย ลูกชายเพียงคนเดียวของศิลปินไฟน์อาร์ตชื่อดัง ชาติชาย ปุยเปีย และ พินรี สัณฑ์พิทักษ์ ขอไม่เดินทางสายไฟน์อาร์ตแต่ก้าวเข้าสู่โลกแฟชั่นด้วยการเปิดแบรนด์เสื้อผ้าของตนเองในชื่อ Shone Puipia และสตูดิโอชื่อ soi sa:m ในซอยสวนพลู 3 กรุงเทพฯ เพื่อเป็นโชว์เคสผลงานออกแบบที่เขากล่าวว่าเป็น Cross-gender และ Sustainable Fashion

เส้นทางสู่จักรวาล ภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก ตำนานนางงามรักเด็ก พร้อมนิยามงามอย่างมีคุณค่า

24 พฤษภาคม พ.ศ. 2531 ปุ๋ย-ภรณ์ทิพย์ นาคหิรัญกนก สร้างประวัติศาสตร์เป็นนางสาวไทยคนที่ 2 ที่ครองตำแหน่งนางงามจักรวาลต่อจาก อาภัสรา หงสกุล ที่คว้ามงกุฏจักรวาลแรกมาครองใน พ.ศ. 2508

เส้นทางสู่ฮอกวอตส์ของ มักเกิล Apolar ผู้ร่ายคาถาให้ 20 ปี แฮร์รี่ พอตเตอร์ ฉบับไทย

อาชว์ - อรุษ เอ่งฉ้วน a.k.a. Apolar ศิลปินรุ่นใหม่เป็นผู้ได้รับคัดเลือกจากหมวกคัดสรรให้สร้างสรรค์ภาพปกและภาพประกอบใหม่ทั้งหมดของหนังสือชุด แฮร์รี่ พอตเตอร์ ฉบับภาษาไทยทั้ง 7 เล่ม เนื่องในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปีของการตีพิมพ์แฮร์รี่ พอตเตอร์ ฉบับภาษาไทย ในปี ค.ศ. 2020

โป๊ปฟรังซิส : เพราะธรรมดาคือสามัญ และพระจริยวัตรที่หลายคนคิดไม่ถึง

หลังจากที่ สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิส (Pope Francis) เสด็จเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการครั้งแรกในฐานะแขกของรัฐบาลไทยระหว่างวันที่ 20-23 พฤศจิกายน 2562 ทั้งชาวคริสต์และผู้ที่ไม่ใช่ชาวคริสต์ต่างก็ได้รู้จักพระองค์มากขึ้น

จาก โชติ แพร่พันธุ์ ถึง ยาขอบ : การเดินทางของนักเขียน ผู้ชนะสิบทิศ

ยาขอบ เป็นนามปากกาของ โชติ แพร่พันธุ์ นักเขียนที่มีผลงานตีพิมพ์สุดอมตะ นักอ่านส่วนใหญ่มักรู้จักในฐานะผู้แต่ง ผู้ชนะสิบทิศ งานดัดแปลงพงศาวดารพม่าสู่วรรณกรรมไทยที่ได้รับความนิยมจนต่อยอดมาเป็นสื่อภาพยนตร์ ละครวิทยุ-โทรทัศน์และยังคงเป็นวรรณกรรมที่ได้รับความนิยมถึงปัจจุบัน

อิน-จัน บังเกอร์ แฝดสยาม ผู้บุกเบิกสายสัมพันธ์ไทย-อเมริกา

อิน-จัน แฝดสยาม เดินทางออกจากสยามในช่วงรัชกาลที่ 3 ไปยังอเมริกาและยุโรปเพื่อแสดงโชว์ในคณะละครสัตว์ ทั้งคู่เป็นชาวเอเชียรุ่นแรกๆ ที่ได้เป็นพลเมืองอเมริกา ใช้นามสกุลบังเกอร์ (Eng-Chang Bunker) และมีลูกหลานสืบต่อมาถึงปัจจุบัน