Lite
Tomorrow’s Leaves จิตวิญญาณแห่งโอลิมปิก สู่แอนิเมชันวาดมือ โดย Studio Ponoc

Tomorrow’s Leaves ภาพยนตร์แอนิเมชันขนาดสั้น ฉายรอบปฐมทัศน์ในวันเปิด โอลิมปิก 2020 สร้างสรรค์โดย โยชิอากิ นิชิมูระ โปรดิวเซอร์ Studio Ghibli และผู้ก่อตั้ง Studio Ponoc 

Tokyo Olympiad ภาพยนตร์สารคดีกีฬา ที่ว่าด้วยความเป็นมนุษย์โดย “คง อิชิกาวา”

ภาพยนตร์สารคดี Tokyo Olympiad สร้างโดย คง อิชิกาวา (Kon Ichikawa) ผู้กำกับและผู้สร้างภาพยนตร์ชั้นครูของญี่ปุ่น ผู้ทำให้สารคดีกีฬาเป็นมากกว่าแค่บันทึกประวัติศาสตร์การเป็นเจ้าภาพโอลิมปิกครั้งแรกของญี่ปุ่น

ปรากฏการณ์ ซีไรต์ 2564 “นิยายวาย-นักเขียนหญิง” วิกฤติโควิด-19 สะเทือนเวทีประกวด

วิกฤติโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อทุกวงการไม่เว้นแม้แต่วงการวรรณกรรมไทย โดยเฉพาะ ซีไรต์ หรือ รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน เวทีที่ สกุล บุณยทัต นายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย และคณะกรรมการตัดสินรางวัลซีไรต์พ.ศ.2564 กล่าวย้ำว่าเป็นเวทีที่มีความหมายต่อวงการนักเขียน และนักอ่านในสังคมไทยอย่างมาก

พิกโตแกรม : สัญลักษณ์การกีฬาที่ถือกำเนิด ณ โอลิมปิกฤดูร้อน ประเทศญี่ปุ่น

การใช้ พิกโตแกรม (Pictogram) หรือภาพสัญลักษณ์แทนตัวหนังสือในวงการกีฬาเกิดขึ้นครั้งแรกในการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 18 เมื่อ ค.ศ.1964 ที่ประเทศญี่ปุ่น และการแข่งขันโอลิมปิก 2020 ที่ญี่ปุ่นทางทีมดีไซเนอร์ได้ออกแบบพิกโตแกรมโดยได้รับแรงบันดาลใจจากชุดพิกโตแกรมเมื่อปี ค.ศ.1964 เพื่อเชิดชูดีไซเนอร์ชาวญี่ปุ่นที่สร้างการเปลี่ยนแปลงในวงการกราฟิกดีโซน์ทั่วโลก

ถอดรหัส คบเพลิงโอลิมปิก 2020 ที่เปลี่ยนภัยพิบัติเป็นความหวังของชาวญี่ปุ่น

คบเพลิงโอลิมปิก 2020 ออกแบบโดย Tokujin Yoshioka ดีไซน์เนอร์ชาวญี่ปุ่น ซึ่งใช้วัสดุรีไซเคิล และถอดรูปแบบมาจากดอกซากุระ 5 กลีบ โดยดอกซากุระเป็นทั้งไอโคนิกเมื่อนึกถึงญี่ปุ่น และยังเป็นสัญลักษณ์ของความสงบสุข 

การขึ้นภาษีขนมปัง และ พลังสตรีสามัญ เบื้องหลังปฏิวัติฝรั่งเศส

หนึ่งในเหตุสำคัญของ การปฏิวัติฝรั่งเศส คือการขึ้นราคาขนมปัง และ ขึ้นภาษีเกลือ เพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาหนี้สินของราชอาณาจักร โดยที่ชนชั้นปกครองไม่สนใจการซ้ำเติมความทุกข์ยากแก่ประชาชน และเป็นที่มาของ Women’s March on Versailles

8 นิทรรศการไฮไลต์ โค้งสุดท้ายของงาน Bangkok Design Week 2021

รวม 8 ผลงานไฮไลต์จาก Bangkok Design Week 2021 ประจำเดือนกรกฎาคมที่โดดเด่นด้วยเนื้อหาสะท้อนประเด็นสิ่งแวดล้อมผ่านงานดีไซน์ ทำให้เห็นทางเลือกใหม่ ๆ ของงานดีไซน์ที่ถูกเปลี่ยนจากแค่ไอเดียมาเป็นชิ้นงานที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น

ย้อนความทรงจำ ปรมาจารย์ลัทธิมาร กับคำถาม “ใครดี ใครชั่ว ใครดำ ใครขาว”

ปรมาจารย์ลัทธิมารหรือ The Untamed ซีรีส์ที่ดัดแปลงมาจากนวนิยายกำลังภายในแนว Boy-love ของนักเขียน โม่เซียงถงซิ่ว ซึ่งนอกจากจะเปิดมุมมองของซีรีส์แนว Boy-love แนวกำลังภายในแล้ว เนื้อหาของเรื่องก็เข้มข้นในประเด็น ใครดี ใครชั่ว ใครดำ ใครขาว

มอง ความแตกต่างหลากหลายทางเพศ สีผิว เชื้อชาติ ความคิด ที่ถูกซ่อนไว้ใน นิทาน

ชวนมอง ความแตกต่างหลากหลายทางเพศ สีผิว เชื้อชาติ และความคิด ที่ถูกซุกซ่อนไว้ใน นิทาน ซึ่งแม้ไม่มีคำพูด หรือบทสนทนา แต่เด็กๆ ก็สามารถเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมบนความแตกต่างได้