ย้อนรำลึกเหตุการณ์ 14 ตุลา ผ่านมุมมองของศิลปินและคนเดือนตุลา สินธุ์สวัสดิ์ ยอดบางเตย ชายผมยาวผู้ยืนเด่นอยู่ท่ามกลางผลงานศิลปะจากหยาดน้ำตาและอุดมการณ์ ซึ่งเราสามารถพบเห็นเขาได้เสมอในวันครบรอบ 14 ตุลาฯ และ 6 ตุลาฯ
นิ/ราษฎร์ : L/Royal Monument นิทรรศการเดี่ยวในรอบ 3 ปีของ วิทวัส ทองเขียว ศิลปินผู้เลือกแล้วที่จะนำคำว่า ศิลปะ มาวิพากษ์ วิจารณ์ และบอกเล่าสถานการณ์ กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมการเมืองของไทย
เหตุการณ์นองเลือดเทียนอันเหมิน หนึ่งในเหตุการณ์ชุมนุมทางการเมืองครั้งประวัติศาสตร์ของฟากฝั่งเอเชีย ที่มีนักศึกษาชาวจีนนับแสนคนออกมาชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตย โดยการชุมนุมยืดเยื้อยาวนานถึง 7 สัปดาห์ ณ จัตุรัส เทียนอันเหมิน ใจกลางกรุงปักกิ่ง
ย้อนรอยเกร็ดประวัติศาสตร์ก่อน 21 มกราคม ค.ศ. 1793 พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ถูกประหารชีวิตด้วยกิโยติน ต่อหน้าสาธารณชน กลางจัตุรัสหลุยส์ที่ 15 หรือ จัตุรัสกงกอร์ด (Place de la Concorde) ฝรั่งเศส
4 กรกฎาคม พ.ศ.2427 รัฐบาลฝรั่งเศสได้ส่งมอบ เทพีเสรีภาพ รูปปั้นหนัก 280 ตัน สูง 46 เมตร เป็นของขวัญจากประชาชนฝรั่งเศสให้กับสหรัฐอเมริกา เพื่อเฉลิมฉลองความเป็นชาติเสรี แต่ความใหญ่โตของเทพีเสรีภาพทำให้ต้องมีการแบ่งชิ้นส่วนโลหะออกเป็นชิ้นย่อยๆ มากถึง 200 ชิ้น เพื่อบรรทุกในเรือจากฝรั่งเศสมายังเกาะลิเบอร์ตี้
คุยกับ แรปเตอร์-สิรภพ อัตโตหิ ตัวแทน กลุ่มเสรีเทยพลัส กับแนวคิดปรัชญาศาสนาที่ทำให้สามารถเข้าใจเรื่อง ความหลากหลายทางเพศ มากยิ่งขึ้น
ย้อนอดีตไปกับ 6 เรื่องราวของงานรื่นเริงที่ถือกำเนิดมาพร้อมกับ งานฉลองรัฐธรรมนูญ ไม่ว่าจะเป็นการประกวดนางสาวสยาม งานออกร้านแสดงสินค้านานาชาติ งานลีลาศ ไปจนถึงการเปิดให้ประชาชนเข้าชมพานรัฐธรรมนูญ
นาไนอา มาฮูตา เป็นชาวเผ่าพื้นเมือง เมารี คนแรกในประวัติศาสตร์ของประเทศนิวซีแลนด์ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรี และเป็นคนแรกที่สัก โมโกรอยสักอันเป็นเอกลักษณ์ของชนเผ่า เมารี
พูดคุยกับ 5 กลุ่มแฟนคลับทั้งเกาหลีและจีน ถึงเหตุผลที่พวกเขาได้เปลี่ยนแพชชั่นเกี่ยวกับศิลปิน ดารา นักร้อง มาสู่แพชชั่นใหม่นั่นคือการศึกษาเรื่องการเมืองอย่างจริงจังและใช้พลังของแฟนคลับเรียกร้องประชาธิปไตย